ตลาดการเงินมีหน้าที่ เป็นตัวกลางที่อำนวย ความสะดวกให้ผู้ระดมทุน ได้พบกับนักลงทุน
ธุรกรรมกู้ยืมหรือซื้อขายแลกเปลี่ยนตราสารทางการเงิน ระหว่างกัน เป็นกลไกสำคัญที่จะช่วยสนับสนุนการดำเนินกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ และนำไปสู่การขยายตัวทางเศรษฐกิจในที่สุด
ธปท. มีหน้าที่ในการพัฒนาตลาดการเงิน และตลาดตราสารหนี้
ตามกรอบนโยบายการเงิน และนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน
ธุรกรรมกู้ยืมหรือซื้อขายแลกเปลี่ยนตราสารทางการเงิน ระหว่างกัน เป็นกลไกสำคัญที่จะช่วยสนับสนุนการดำเนินกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ และนำไปสู่การขยายตัวทางเศรษฐกิจในที่สุด
ตลาดการเงินสามารถแบ่งตามวัตถุประสงค์ รูปแบบของการทำธุรกรรม หรือประเภทของหลักทรัพย์ในการทำธุรกรรมได้
อ่านต่อปัจจุบัน ประเทศไทยใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการจัดการ ซึ่ง ธปท. มีแนวทางการบริหารจัดการอัตราแลกเปลี่ยนเพื่อดูแลเสถียรภาพ คอยติดตามและดูแลให้อัตราแลกเปลี่ยนเคลื่อนไหวสอดคล้องกับ พื้นฐานทางเศรษฐกิจ และไม่ผันผวนมากเกินไป
อ่านต่อธปท. มีหน้าที่ดูแลอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในตลาดเงินให้อยู่ในระดับที่สอดคล้องกับอัตราดอกเบี้ยนโยบายตามที่คณะกรรมการนโยบายการเงินกำหนด โดยอาศัยกลไกของ การดำเนินการผ่านตลาดการเงิน
อ่านต่อการลงทุนเงินสำรองทางการมีกระบวนการกำกับดูแลในหลายระดับ ภายใต้กรอบกฎเกณฑ์ที่ละเอียดชัดเจน และมีการคานอำนาจระหว่างผู้ทำหน้าที่บริหารความเสี่ยงกับผู้ทำหน้าที่ลงทุนระหว่างคณะกรรมการ ธปท. กับฝ่ายบริหาร
อ่านต่อการลงทุนในต่างประเทศช่วยในการการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศให้สามารถแข่งขันและเติบโตได้ และช่วยให้การเคลื่อนย้ายเงินทุนมีความสมดุลมากขึ้น ส่งผลให้อัตราแลกเปลี่ยนและระบบการเงินของประเทศมีเสถียรภาพยิ่งขึ้น
อ่านต่อ
กรุณาหมุนหน้าจอของคุณเป็นแนวตั้ง
เพื่อประสบการณ์ที่ดีในการรับชมเว็บไซต์